MIT มหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของโลก เป็นอย่างไร?รายได้ใน 1 ปี ของบริษัทที่ถูกก่อตั้งโดยศิษย์เก่าของ MITจะมีมูลค่าพอๆ กับขนาดเศรษฐกิจของประเทศอิตาลี..MIT ย่อมาจาก Massachusetts Institute of Technology หรือ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ “สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์” ชื่อนี้อาจฟังดูไม่คุ้นหูเท่าไรนัก MIT คณะ
แต่ถ้าเรียกด้วยชื่อย่อว่า MIT เชื่อว่าหลายคนคงคุ้นเคยกับชื่อนี้เป็นอย่างดี เพราะเมื่อมีข่าวเกี่ยวกับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในโลกทีไร ก็จะมีชื่อนี้ติดอยู่ใน 5 อันดับแรกเสมอ ๆ โดยเฉพาะจากการจัดอันดับของ Quacquarelli Symonds (QS) ซึ่งเป็นองค์กรชั้นนำระดับโลกด้านการศึกษา สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ค่าเทอม ได้ยกให้ MIT เป็นมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งของโลกมาติดต่อกันครบ 10 ปีแล้ว (2011-2021) อีกทั้งช่วงหลังเราอาจจะได้ยินชื่อสถาบันนี้ บ่อยครั้งขึ้น จากทั้งภาพยนตร์ต่างประเทศหลายเรื่อง และข่าวผู้สมัครผู้ว่ากรุงเทพมหานครทั้ง 2 คนที่สำเร็จการศึกษาจาก MIT ซึ่งเราจะมาทำความรู้จักสถาบันนี้ให้มากขึ้นกัน
เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา
MIT รัฐแมสซาชูเซตส์ได้ชื่อว่าเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยระดับโลกหลายแห่งแต่มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีอะไรพิเศษกว่าที่อื่น?จากผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก โดย QS World University Rankingsซึ่งพิจารณาจากปัจจัย ความมีชื่อเสียงทางด้านวิชาการ คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาสัดส่วนของอาจารย์ต่อนักศึกษาสัดส่วนผลงานทางวิชาการที่ได้รับอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์และสัดส่วนของอาจารย์และนักศึกษาต่างชาติ MIT ตั้งอยู่ที่เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา มีชื่อเสียงด้านการเรียนการสอนและงานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มีศิษย์เก่าที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาต่าง ๆ ถึง 41 คน (หากรวมคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยด้วยจะเป็น 98 คน) สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ก่อตั้งขึ้นในปี 1861 เพื่อรองรับการขยายตัวด้านอุตสาหกรรมในประเทศสหรัฐอเมริกา และได้มีส่วนร่วมกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเศรษฐกิจของประเทศตั้งแต่นั้น MIT คณะ
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 MIT ได้มีส่วนร่วมในงานวิจัยทางทหาร เช่น พัฒนาระบบเล็งปืน เล็งเป้าทิ้งระเบิด เรดาร์ การถ่ายรูปความเร็วสูง เป็นต้น หลังสงครามสิ้นสุด MIT กลายเป็นสถาบันด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D) ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีส่วนร่วมในการส่งมนุษย์ไปดวงจันทร์ในโครงการอพอลโล (Buzz Aldrin หนึ่งในนักบินอวกาศกลุ่มแรกที่ได้เหยียบพื้นดวงจันทร์ก็เป็นศิษย์เก่า MIT เช่นกัน) คอมพิวเตอร์ที่ตอบสนองต่อคำสั่งทันที (real-time computure) และมีหน้าจอแสดงภาพเครื่องแรก ‘Whirlwind’ ได้ถูกประดิษฐ์ขึ้นที่ MIT ในช่วงปี 1950
ในปัจจุบันนักวิจัยจาก MIT ยังพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่น่าตื่นตาตื่นใจออกมาเสมอ ๆ เช่น พัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) คัดกรองผู้ติดโรคโควิด-19 ด้วยเสียงไอ, หุ่นยนต์ที่สามารถวิ่ง กระโดด และตีลังกากลับหลังกลางอากาศได้, หุ่นยนต์ขนาดจิ๋วที่บินได้เหมือนแมลง, หุ่นยนต์ขนาดจิ๋วรูปทรงเหมือนเส้นด้ายสำหรับใช้ผ่าตัดในหลอดเลือด และล่าสุดเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2022 ทีมวิศวกรเคมีของ MIT แถลงข่าวความสำเร็จของงานวิจัยกว่า 10 ปี สร้างวัสดุ ‘2DPA-1’ ด้วยเทคโนโลยีโพลีเมอร์ 2 มิติ ทำให้ได้วัสดุที่เบาเหมือนพลาสติกแต่มีความแข็งแรงแตกหักยากกว่าเหล็กถึง 2 เท่า ต้านทานการเสียรูปมากกว่ากระจกกันกระสุน 4-6 เท่า วัสดุนี้อาจถูกนำมาใช้แทนที่เหล็กกล้า ทลายข้อจำกัดในการก่อสร้างอาคารและการผลิตยานยนต์ก็เป็นได้ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ค่าเทอม
MIT ครองตำแหน่งมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งของโลกมา 7 ปีซ้อน
ตั้งแต่ปี 2013 – 2019งานวิจัยที่พัฒนามาอย่างเข้มข้นและยาวนานทำให้สถาบันแห่งนี้มีคุณูปการต่อความก้าวหน้าหลายอย่างของมวลมนุษยชาติทั้งการพัฒนาเรดาร์ แผงวงจรดิจิทัลการพัฒนาประสิทธิภาพของแบตเตอรี่ลิเทียมไอออนไปจนถึงการค้นพบยีนก่อมะเร็ง (Oncogene) สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ค่าเทอม
MIT แบ่งออกเป็น 31 ภาควิชา ใน 5 คณะ
1.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และผังเมือง
2.คณะวิศวกรรมศาสตร์
3.คณะมนุษยศาสตร์ ศิลปะและสังคมศาสตร์
4.คณะการบริหารจัดการ
5.คณะวิทยาศาสตร์
เนื่องจากเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนสถาบันแห่งนี้จึงมีค่าใช้จ่ายในการเล่าเรียนอยู่ที่ปีละประมาณ 1.5 ล้านบาทแต่หลังจบการศึกษา ค่าเฉลี่ยของเงินเดือนศิษย์เก่า จะอยู่ที่ปีละประมาณ 3 ล้านบาท เป็นอันดับหนึ่งของมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา จากการเก็บข้อมูลของ The New York Times สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ค่าเทอม
ศิษย์เก่าของ MIT ที่มีชื่อเสียงระดับโลก
- Kofi Annan อดีตเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ
- Buzz Aldrin นักบินอวกาศผู้ไปเหยียบดวงจันทร์กับยานอพอลโล 11
- I.M. Pei สถาปนิกผู้สร้างพีระมิดแก้วหน้าพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ในกรุงปารีส
- Ben Bernanke อดีตประธานธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา และมีศิษย์เก่าอีกหลายคนที่เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทระดับโลก
- Hewlett-Packard (HP) บริษัทเทคโนโลยีชั้นนำ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ค่าเทอม
- Bill Hewlett ผู้ร่วมก่อตั้ง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
- ในปี 2018 Hewlett-Packard (HP) มีรายได้ 1.8 ล้านล้านบาท
Intel บริษัทผู้ผลิตไมโครโพรเซสเซอร์ชื่อดัง - Robert Noyce ผู้ร่วมก่อตั้ง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ด้านฟิสิกส์
- ในปี 2018 Intel มีรายได้ 2.2 ล้านล้านบาท
- Qualcomm บริษัทผลิตเซมิคอนดักเตอร์ ซึ่งใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
- Irwin Jacobs ผู้ร่วมก่อตั้ง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
- และปริญญาเอก ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ MIT คณะ
- ในปี 2018 Qualcomm มีรายได้ 7 แสนล้านบาท
- Dropbox บริษัทบริการการเก็บข้อมูลบนคลาวด์
- Drew Houston ผู้ร่วมก่อตั้ง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์
ในปี 2018 (9 เดือน) Dropbox มีรายได้ 4 หมื่นล้านบาท - นอกจากนี้ยังมีอีกกว่า 30,000 บริษัท ซึ่งล้วนถูกสร้างโดยเหล่าศิษย์เก่า MITบริษัทเหล่านี้สร้างงาน 4.6 ล้านตำแหน่งและสร้างรายได้ต่อปีรวมกันราว 60 ล้านล้านบาทซึ่งพอๆ กับขนาดเศรษฐกิจของประเทศอิตาลีและใหญ่กว่าขนาดเศรษฐกิจไทยเกือบ 4 เท่าหากจุดมุ่งหมายในอดีตของมหาวิทยาลัยคือการสร้างคนเพื่อทำงานแต่โลกที่เปลี่ยนแปลงไปกำลังทำให้เทคโนโลยีเข้ามาทำงานแทนที่คนจุดมุ่งหมายของ MIT คือการสร้างคนเพื่อไปเป็นนักสร้าง..เรียนรู้ว่าเทคโนโลยีทำงานอย่างไรแล้วสร้างสรรค์สิ่งใหม่ให้มีคุณค่าเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมให้ดีขึ้น