มหาวิทยาลัยโลกประจำปี 2567

เปิดอันดับมหาวิทยาลัยโลก 2024 เปิดอันดับมหาวิทยาลัยโลกประจำปี 2567 ไทยติดโผด้วย  แห่งมหาวิทยาลัยของไทยทั้งหมด จาก 1,500 แห่งใน 104 ประเทศและดินแดนทั่วโลกติดอันดับมหาวิทยาลัยโลก (QS World University Rankings) ครั้งที่ 20 ประจำปี 2567 ซึ่งจัดอันดับโดยคิวเอส ควัคควาเรลลี ซีมอนด์ส มหาลัยที่ดีที่สุดในไทย

(QS Quacquarelli Symonds) สถาบันวิเคราะห์ข้อมูลด้านการอุดมศึกษาระดับโลก โดยถือเป็นการจัดอันดับมหาวิทยาลัยเพียงหนึ่งเดียวที่มุ่งเน้นในส่วนของความสามารถในการทำงาน (Employability) และความยั่งยืน (Sustainability) อันดับมหาลัยไทย

951–1000 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

เปิดอันดับมหาวิทยาลัยโลก 2024 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ฯพณฯ ม.ล.ปิ่น มาลากุล ได้ปรารภกับอธิบดีกรมอาชีวศึกษาว่า ประเทศไทยยังขาดผู้ประสานงาน ระหว่างวิศวกร และ
Skill Labours อีกมากการผลิตช่างเทคนิคในสมัย พ.ศ. 2500 ต้องใช้เวลา 6 ปี กล่าวคือ รับนักเรียนจบชั้นมัธยม 3 เรียนต่อวิชาช่างอุตสาหกรรม 3 ปี ได้วุฒิ ปว.ช. แล้วออกทำงานหรือศึกษาต่อ ในวิทยาลัยเทคนิคอีก 3 ปี ได้วุฒิ ปว.ส. จึงจะทำหน้าที่ช่างเทคนิคได้ระหว่างสำรวจหาสถานที่ตั้งวิทยาลัย ท่านอธิบดีสนั่น อันดับมหาลัยไทย

สุมิตร พบว่าที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ณ ตำบลบางมด อำเภอราษฎร์บูรณะ จังหวัดธนบุรี ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการขอเช่าไว้ 32 ไร่ ปลูกสร้างอาคารไม้สองชั้นแบบมาตรฐาน 14 ห้องเรียน เสร็จเรียบร้อย ตั้งแต่ พ.ศ. 2501 พร้อม ทั้งบ้านพักครูใหญ่ และโรงอาหาร อีกครึ่งหลัง ได้ถูกทิ้งว่างไว้ แม้จะยังไม่มี ถนน ไฟฟ้า น้ำประปา และโทรศัพท์ ก็ยังมีอาคารพร้อมที่จะให้ใช้ได้ทันที ท่านอธิบดี จึงเสนอสถานที่นี้ เป็นที่ตั้งวิทยาลัยแห่งใหม่ ให้ชื่อว่า “ วิทยาลัย เทคนิคธนบุรี ”

1201–1400 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

19 กุมภาพันธ์ 2502 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศจัดตั้งโรงเรียนเทคนิคพระนครเหนือ สังกัดกรมอาชีวศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตช่างฝีมือที่เน้นการปฏิบัติและประสบการณ์จริง ซึ่งเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในนาม “เทคนิคไทย-เยอรมัน” ต่อมาได้มีการลงนามในสัญญาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันฉบับแรกในวันที่ 16 มีนาคม 2502 มหาลัยที่ดีที่สุดในไทย

1201–1400 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

เป็นสถาบันตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. 2528 เป็นนิติบุคคล มีฐานะเป็นกรมในทบวงมหาวิทยาลัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การศึกษา วิจัย ส่งเสริม และให้บริการทางเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และครุศาสตร์อุตสาหกรรม รวมทั้งทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ และเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2551 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้ปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนที่ 45 ก วันที่ 7 มีนาคม 2551 หน้า 95 – 124

1201–1400 มหาวิทยาลัยนเรศวรมหาวิทยาลัยนเรศวร

เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนเรศวร” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน อันดับมหาลัยไทย

1201–1400 มหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยศิลปากร

เป็นสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษาของรัฐในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย เดิมคือโรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร เปิดสอนวิชาจิตรกรรมและประติมากรรมให้แก่ข้าราชการและนักเรียนในสมัยนั้นโดย ไม่เก็บค่าเล่าเรียน ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี (เดิมชื่อ Corrado Feroci) ชาวอิตาเลียนซึ่งเดินทางมารับราชการในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

รัชกาลที่ ๖ เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียน แห่งนี้ขึ้น และได้เจริญเติบโตเป็นลำดับเรื่อยมา จนกระทั่งได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๖ คณะจิตรกรรมและประติมากรรม ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นคณะวิชาแรก (ปัจจุบันคือคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์) ในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ จัดตั้งคณะสถาปัตยกรรมไทย (ซึ่งต่อมาได้ปรับหลักสูตรและเปลี่ยน ชื่อเป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์) และคณะโบราณคดี หลังจากนั้นได้จัดตั้งคณะมัณฑนศิลป์ ขึ้นในปีต่อมา อันดับมหาลัยไทย

1201–1400 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 รัฐบาลมี นโยบายกระจายโอกาสทางการศึกษา ระดับอุดมศึกษาไปสู่ภูมิภาคและ ชนบท ให้มากยิ่งขึ้น ดังนั้น ใน พ.ศ. 2523 ทบวงมหาวิทยาลัยจึง เสนอให้ รัฐบาลจัดตั้งมหาวิทยาลัยใหม่ในส่วนภูมิภาค 5 แห่ง ได้แก่ ภาคเหนือ 1 แห่ง ภาคใต้ 1 แห่ง ภาคตะวันออก 1 แห่ง มหาลัยที่ดีที่สุดในไทย

และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 แห่ง ในส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ให้จัดตั้ง วิทยาลัยในสังกัด มหาวิทยาลัยขอนแก่นขึ้นที่จังหวัดอุบลราชธานี และ จังหวัดนครราชสีมา โดยวิทยาลัยที่จัดตั้งขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมา ให้ใช้ชื่อว่า “ วิทยาลัยสุรนารี ” และเลือกพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม บริเวณ อ่างเก็บน้ำห้วยบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เนื้อที่ ประมาณ 7,000 ไร่ เป็นที่ตั้ง

เปิดอันดับมหาวิทยาลัยโลกประจำปี 2567 ไทยติดโผด้วย  แห่งมหาวิทยาลัยของไทยทั้งหมดจาก 1,500 แห่งใน 104 ประเทศและดินแดนทั่วโลกติดอันดับมหาวิทยาลัยโลก (QS World University Rankings) ครั้งที่ 20 ประจำปี 2567 ซึ่งจัดอันดับโดยคิวเอส ควัคควาเรลลี ซีมอนด์ส (QS Quacquarelli Symonds) สถาบันวิเคราะห์ข้อมูลด้านการอุดมศึกษาระดับโลก โดยถือเป็นการจัดอันดับมหาวิทยาลัยเพียงหนึ่งเดียวที่มุ่งเน้นในส่วนของความสามารถในการทำงาน (Employability) และความยั่งยืน (Sustainability)

บทความแนะนำ